สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายการพัฒนาอาชีวศึกษา
43 พัฒนาระบบคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา
ที่ ประเด็นการพัฒนา โครงการ/กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม ผลการดำเนินงาน หลักฐานประกอบ
1 พัฒนาระบบคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา
1. ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจากรอการพัฒนาระบบของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมกรุงเทพ
ย้งไม่ได้ดำเนินการ ยังไม่ได้ดำเนินการ ลิงค์
2. จัดการศึกษาเพื่อคนพิการ
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน บูรณาการศึกษา เตรียมความพร้อมของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน จัดการเรียนการสอนทั้งหมด 6 รายวิชา ได้แก่ วิชาการชงการแฟสด วิชาอาหารว่าง วิชาขนมอบยอดนิยม ขนมอบเพื่ออาชีพ วิชาการประดิษฐ์ของชำร่วยและของที่ระลึก วิชาถ่ายภาพเบื้องต้น ระหว่างวันที่ 25 มกราคม 2567- 23 กุมภาพันธ์ 2567 ณ สมาคมสติปัญญา ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ทักษะวิชาชีพไปต่อยอดในการประกอบอาชีพในอนาคต และมีความพึ่งพอใจในระดับดีมาก ลิงค์
3. พัฒนาด้านหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพ
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
การจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพสาขาธุรกิจ สาขาการบัญชี สาขาการท่องเที่ยว-โรงแรม สาขาอาหารและเครื่องดื่ม นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมสู่อาชีพ ลิงค์
4. ฝึกอบรมอาชีพประชากรเพื่อนบ้านในอาเซียนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม
วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
เป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ และเพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนและประชากรในกลุ่มอาเซียน ในวันที่ 29 ตุลาคม 2566 ณ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์และเพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนและประชากรในกลุ่มอาเซียน และมีความพึ่งพอใจในระดับดีมาก ลิงค์
5. ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ นักศึกษาแผนกวิชาการบัญชี และ การตลาดระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 1 เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งสอบถามข้อมูลจากทางคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก สำหรับการศึกษาต่อในหลักสูตรดังกล่าว ลิงค์
6. หลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางสาวอรนุช อุทานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ (3) เป็นประธานเปิดกิจกรรม ปฐมนิเทศหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีครู และ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาการตลาด และการบัญชี เข้าร่วมกิจกรรมนี้ พร้อมด้วยอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี และ สาขาวิชาการตลาด บรรยายให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสะสมเครดิต (credit bank) ระหว่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ กับ มหาวิทยาลัยเกริก ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม ชั้น 2 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพ ลิงค์
7. การเทียบรายวิชาจากการเรียนหลักสูตรระยะสั้น
วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม
วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม มีการเทียบรายวิชา จากการเรียนหลักสูตรระยะสั้น นำมาเป็นหน่วยกิตสะสม ใช้ในการเทียบโอนได้ นักเรียนที่ได้ผ่านการเรียนหลักสูตรระยะสั้น สามารถนำมาเทียบโอนในการศึกษาต่อในสาขาที่เรียนหลักสุตรระยะสั้นนั้นมาแล้ว ลิงค์