สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายการพัฒนาอาชีวศึกษา
1310016201 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา
ที่ นโยบาย / หัวข้อพัฒนา โครงการ/กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม ผลการดำเนินงาน หลักฐานประกอบ
1 ส่งเสริมการเรียนรู้อาชีวศึกษาทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime)
1.1 การพัฒนาแพลตฟอร์มและสื่อการสอนอาชีวศึกษา
1.โครงการ การผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (E-Book)ด้านการทำอาหารไทย ประจำปีงบประมาร 2567 เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับนโยบายการศึกษาเรียนได้ทุกทีทุกเวลา Anywhere Anytime และยกระดับการสร้างการเรียนรู้ทักษะวิชาชีพสาขาอาหารไทยตอบโจทย์อุสาหกรรม ชอพเพาว์เวอร์ สามารถผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ E- book ด้านการสอนทำอาหารสอดรับนโยบายเรียนได้ทุกทีทุกเวลาและสามารถยกระดับการสร้างการเรียนรู้และทักษะวิชาชีพสาขาอาหารไทย ตอบโจทย์ 10 สาขา อุตสาหกรรมชอพเพาเวอร์ ตามQuick win ลิงค์
1.2 ขยายโอกาสในการเข้าถึงและการศึกษาอาชีวศึกษา (Vocational for All)
2 พัฒนาทักษะวิชาชีพเพื่อลดภาระของผู้เรียนและผู้ปกครอง (Skill Certificate)
2.1 พัฒนาทักษะและสมรรถนะวิชาชีพ (Up-Skill,Re-Skill)
1.โครงการขยายและยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีคุณภาพสูง กิจกรรมประชาสัมพันธ์ โครงการรับนักศึกษาทวิภาคีและสัมภาษณ์โดยบริษัทไมเนอร์อินเตอเนชั่นเนลจำกัด (มหาชน)ร่วมกับอาชีวศึกษาทวิภาคี ฝ่ายวิชาการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา นักเรียนนักศึกษาได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการแก้ปัญหาข้อสงสัยในการฝึกงานของนักเรียนนักศึกษาตลอดจนฝึกงานฝึกอาชีพอย่างมีคุณภาพ ลิงค์
1.โครงการขยายและยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีคุณภาพสูง กิจกรรมประชาสัมพันธ์ โครงการรับนักศึกษาทวิภาคีและสัมภาษณ์โดยบริษัทไมเนอร์อินเตอเนชั่นเนลจำกัด (มหาชน)ร่วมกับอาชีวศึกษาทวิภาคี ฝ่ายวิชาการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา นักเรียนนักศึกษาได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการแก้ปัญหาข้อสงสัยในการฝึกงานของนักเรียนนักศึกษาตลอดจนฝึกงานฝึกอาชีพอย่างมีคุณภาพ ลิงค์
2.2 พัฒนาระบบวัดผลรับรองมาตรฐานวิชาชีพ
2.3 พัฒนาหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะ (ปวพ.)
2.4 ส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียน จบแล้วมีงานทำ (Learn to Earn)
3 ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง
3.1 ขยายและยกระดับอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE for All)
1.โครงการขับเคลื่อนศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (CVM) เพื่อจัดทำข้อมุลสถานประกอบการที่ต้องการกำลังคนในสาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหารสู่การวางแผนผลิตกำลังคนให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการอย่างมีคุณภาพโดยมีการดำเนินการเชิงลุกในการเข้าถึงสถานประกอบการใช้ฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา โครงการขับเคลื่อนศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (CVM) สาขาการจัดการธุรกิจอาหารสามารถวางแผนการผลิตกำลังคนให้กับความต้องการของสถานประกอบการและสามารถกำหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเชื่อมโยงกับการทำงานในกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้อ ลิงค์
3.2 ยกระดับการขับเคลื่อนความร่วมมือกับภาคเอกชน (Active MOU/MOA)
3.3 พัฒนาคุณภาพและทักษะชีวิตผู้เรียนอาชีวศึกษาในทุกมติ
3.4 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม การวิจัย และสิ่งประดิษฐ์
4 พัฒนาระบบการเทียบระดับการศึกษาและคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา (Credit Bank)
4.1 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ปวช./ปวส./ป.ตรี
1.โครงการแนะแนวการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีรูปแบบการเรียนรู้คู่การทำงาน On The Job Learning ประจำปีการศึกษา 2566 เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาสาบอาชีพรูปแบบการเรียนรู้คู่การทำงานโรงเรียนขยายโอกาสสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1 เขต2 และเขต3 นักเรียนชั้นม.3และม.6ในโรงเรียนมัธยมได้รับข้อมูลหลักสูตรการศึกษาต่อในระดับปวช.และปวส.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการรูปแบบการเรียนรุ้คู่การทำงานn The Job Learning ลิงค์
4.2 พัฒนาระบบการวัดผล เทียบระดับการศึกษาและประเมินผลการศึกษา
4.3 พัฒนาระบบคลังหน่วยกิตอาชีวศึกษา
4.4 ตั้งศูนย์เทียบโอนผลการเรียนในระดับจังหวัด (77 ศูนย์)
4.5 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทวิศึกษา
5 พัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการศึกษาและทำงาน (Language Skills)
5.1 พัฒนาทักษะด้านภาษาให้กับผู้เรียน
1.โครงการสัมนาหน่วยสถานประกอบการและลงนามความร่วมมือ ปีการศึกษา 2566 การสร้างความร่วมมือในการขยายกลุ่มเป้าผู้เรียนในการแนะแนวการเรียนการสอนและอาชีพเข้าสู่หลักสูตรอาชีวศึกษาร่วมกันและจัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาภายใต้ความเห็นชอบร่วมกันระหว่างสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคระกรรมการการอาชีวศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้มีโอกาสศึกษาเรียนรู้ในวิชาของหลักสูตรอาชีวศึกษาตามความถนัดและความสนใจ 1.มีสายสัมพันธ์ที่ดีด้านความร่วมมือในด้านวิชาชีพด้านการจัดการศึกษาในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.จำนวนสถานประกอบการมากขึ้น 3.รับทราบปัญหาร่วมกันระหว่างสถานประกอบการและร่วมแก้ไขสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกงานและฝึกอาชีพ ลิงค์
5.2 ส่งเสริมทักษะด้านภาษาเพื่อการทำงานให้กับประชาชน
5.3 พัฒนาหลักสูตร 2 ภาษา (อังกฤษ/จีน)
6 สร้างช่างชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีอาชีพเสริม (1 วิทยาลัย 1 ศูนย์ช่างชุมชน)
6.1 สร้างศูนย์ช่างชุมชน 433 แห่ง
6.2 พัฒนาทักษะอาชีพช่างและสร้างอาชีพเสริม (หลักสูตรช่างชุมชน)
6.3 พัฒนา Application ช่างชุมชน
7 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลและการบริหารจัดการ
7.1 แก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา
1.โครงการพัฒนาและดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายในวิทยาลัยฯสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน 1.บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและนักศึกษาได้รับบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ 2.มีการให้บริการเครือข่ายอินเทอเนตแบบไร้สายอย่างครอบคลุม 3มีความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาต่างๆ ลิงค์
7.2 แก้ไขปัญหาความขาดแคลนครูผู้สอนอาชีวศึกษา (จัดหาครูอัตราจ้าง)
7.3 ส่งเสริมให้ครูปฏิบัติงานในภูมิลำเนาของตนเองตามแนวทาง ก.ค.ศ.
7.4 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง
7.5 ส่งเสริมข้าราชการครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีวิทยฐานะและตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น
7.6 ขับเคลื่อนและบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Govermance)
7.7 ป้องกันแะปราบปรามการทุจริตคอร์รับชั่นอย่างมีประสิทธิภาพ
7.8 นำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ
7.9 ปรับปรุงกฎ ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง
8 เสริมสร้างภาพลักษณ์อาชีวศึกษายุคใหม่
8.1 เสรมสร้างสถานศึกษาอาชีวศึกษาแห่งความสุขและปลอดภัย
1.โครงการเสริมสร้างนวัตกรรมพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์และงานวิจัยเพื่อเผยแพร่สู่ชุมชนอันจะเป็นการพัฒนาชุมชนให้สามารถนำองค?ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพได้เป็นอย่างดี ผู้เรียนสามารถนำความรู้ทักษะกระบวนการด้านวิทยาศาสตร์และวิชาชีพมาประยุกต ์ใช้ในการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ และสามารถประยุกต์ความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์และใช้ได้จริง ลิงค์
8.2 ยกระดับการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร
8.3 เชิดชูเกียรติศิษย์เก่าดีเด่น / สร้างต้นแบบรุ่นพี่อาชีวะ (Senior idol)
8.4 ส่งเสริม Soft Power อาชีวศึกษา (1 วิทยาลัย 1 Soft Power/อัตลักษณ์)